นี้ Publication ไม่ได้อยู่ในภาษาของคุณ, ดูใน: Tiếng Việt (vi), English (en),
หรือใช้ Google Translate:  

ECHO Asia Notes is a quarterly technical e-bulletin containing articles of interest to agriculture and community development workers in Asia.

This list contains articles from ECHO Asia Notes, many of which have been translated into regional languages.  

101 ฉบับสำหรับการตีพิมพ์ครั้งนี้ (แสดงปัญหา 21 - 17) |

Increase Yields and Save Money with Innovative SRI Tools - 14-06-2014

This article is from ECHO Asia Note #21

ภาษาไทยอยู่ระหว่างการแปลจะดำเนินการอัพโหลดเร็ว ๆ นี้คะ

SRI Transplanting Tools - 14-06-2014

This article is from ECHO Asia Note #21

ภาษาไทยอยู่ระหว่างการแปลจะดำเนินการอัพโหลดเร็ว ๆ นี้คะ

อาหารเลี้ยงสัตวที่ผลิตเองในฟาร์ม: การทำอาหารปลา

Asia Note # 20

สำหรับบ่อเลี้ยงปลานิล ทั้งที่เป็นแบบให้ปลาสามารถว่ายได ้อย่างอิสระหรืออยู่ในตาข่าย อาหารที่ควรพิจารณาอย่าง แรกให ้ปลาคือสาหร่าย บ่อเลี้ยงปลาที่สามารถบรรจุปลาได ้ 3 กิโลกรัมต่อตารางเมตรจะได ้ประโยชน์อย่างมากจาก การเพิ่มปุ๋ยที่จะท าให ้สาหร่ายขยายพันธุ์เพมิ่ ขนึ้ และยังชว่ ยลดคา่ ใชจ้่ายในการให้อาหารปลา ในระบบของเรามีการ ใช้ปยุ ธรรมชาติส่วนป๋ยุ ที่มีขายอยู่ทั่วไปหรือป๋ยุ ไส้เดือนที่ซื้อ มานั้นก็ใช้ได ้แต่ทั้งนี้ควรวางแผนที่จะใชวัตถุดิบที่ได ้ จากฟารม์ ก่อนที่จะตัดสินใจซื้อปัจจัยการผลิตอื่นๆ ปลาที่ได ้รับประโยชน์จากการเพาะเลี้ยงสาหร่าย (เช่น ปลานิล ) มีเหงือกที่มีเยื่อหุ้มเซลล์เป็นเมือก ซึ่งจะช่วยในการ รับเอาสารอาหารที่อยู่ในแพลงตอนพืช ซึ่ง สาหร่ายเซลล์เดียวนั้นมีโปรตีนสูง และเติบโตอยู่ด ้านบนของน้ำเพื่อจะไดรับแสงแดด ป๋ยุ ต่าง ๆไม่ว่าจะมาจากมูลสัตว์ ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยโบกาชิ(ป๋ยุหมักจากจุนิลทรีย์ ที่ไม่ใช้ อากาศจากสารอนินทรีย์ และจุนิลทรีย์ ที่มีประโยชน)์ หรือปุ๋ยจากไส้เดือน นั้นพอเพียงที่จะทำใหเ้กดิ การขยายพันธุ์ของสาหร่าย อย่างรวดเร็วเมื่อมีแสงแดดเพียงพอในสภาพอากาศร้อนชื้น เราต้องการสาหร่ายแค่ไม่ถึง 1 ตัน/เฮคเตอร์(10,000 ตรม.)/ช่วงเวลาการเลี้ยง  120 วันเท่านั้นสำหรับปลานิล ถ้าปริมาณของฟอสฟอรัสมีเพียงพอ

การผลิตเชื้อรา Biocontrol Trichoderma และ Beauveria

ในธรรมชาตินั้น มีเชื้อราประเภทต่างๆไม่น้อยทีเดียวที่เป็นอันตรายและสามารถทาให้ต้นพืชตายในเวลาอันรวดเร็ว ไม่ว่าจะเป็นเชื้อรา Fusarium spp ซึ่งเป็นตัวการทาให้เกิดโรคเหี่ยว (Fusarium wilt) และเชื้อรา Phakospora pachyrhizi ที่เป็นตัวการของโรคราสนิม (ภาพที่ 1) ปกติแล้วเชื้อราไม่สามารถผลิตสารอาหารได้ด้วยตัวของมันเอง ดังนั้นมันจึงต้องการแหล่งอาหารจากที่อื่น บางครั้งแหล่งอาหารนั้นอาจเป็นขนมปังที่หมดอายุ เปลือกส้ม ท่อนไม้ที่เน่าเปื่อยผุพัง หรือเนื้อเยื่อลาเลียงในต้นพืช เชื้อราก่อโรคเหล่านี้เจริญเติบโตได้ดีในสภาพที่อากาศถ่ายเทไม่ดี ในที่ๆการระบายน้าเป็นไปอย่างช้าๆ มีน้าเอ่อท่วมหรือมีฝนตกมากเกินไป โดยสภาวะที่ไม่พึงประสงค์เช่นนี้สามารถป้องกันได้ด้วยการเว้นระยะห่างของต้นพืชให้เหมาะสม จัดเวลาการปล่อยน้าให้ตรงเวลา และกาจัดเศษวัสดุเหลือใช้ที่อาจก่อให้เกิดเชื้อราได้เช่นเศษต้นไม้หรือวัชพืชเก่าๆ แต่ไม่ว่าเราจะทาอย่างไรก็ยังมีโอกาสเสมอที่ต้นไม้ของเราจะได้รับผลกระทบจากเชื้อราก่อโรค

หมายเหตุการวิจัย: การสร้างส่วนผสมที่เหมาะสำหรับผู้ปลูกพืชที่มีทรัพยากร จำกัด

This article is from ECHO Asia Note #19

ในสภาพอากาศร้อนชื้นนั้น การเพาะเมล็ดพันธุ์อาจไม่ง่ายนัก ปัญหาอย่างหนึ่งที่เป็นปัจจัยหลักสาหรับการเพาะเมล็ดพันธุ์คือสภาพน้ำขัง (Zhu, 2007) (Zhu, 2007)(Zhu, 2007)(Zhu, 2007)(Zhu, 2007)(Zhu, 2007)(Zhu, 2007) ในช่วงฤดูฝนดินที่อุ้มน้ำเกินไปอาจทาให้ระบบรากของต้นกล้าตายจากการขาดอากาศหายใจเพราะออกซิเจนและแร่ธาตุสาคัญอื่นๆไม่สามารถเข้าถึงได้ (Forcella, 2000) (Forcella, 2000)(Forcella, 2000)(Forcella, 2000)(Forcella, 2000)(Forcella, 2000)(Forcella, 2000)(Forcella, 2000) (Forcella, 2000)(Forcella, 2000)(Forcella, 2000)(Forcella, 2000)(Forcella, 2000) ต้นกล้าที่ปลูกในกระถางที่มีดินแน่นจึงมีแนวโน้มที่จะได้รับความเสียหายจากน้าขัง โดยปกติแล้ว การผสมวัสดุต่างๆเช่นหินเพอร์ไลต์และเวอร์มิคูไลต์ในส่วนผสมของดินปลูกจะช่วยลดการอัดแน่นของดินและทาให้ดินระบายน้าได้ดี แต่ทั้งหินเพอร์ไลต์และเวอร์มิคูไลต์นั้นมีราคาแพงเกินไปสาหรับเกษตรกร โดยเฉพาะผู้ที่มีงบประมาณจากัด เช่นชาวบ้านที่ท่านทางานอยู่ด้วย

ใช้เครื่องยนต์ดีเซลสำหรับก๊าซชีวภาพ

This article is from ECHO Asia Note #19

ชุมชนชนบทห่างไกลหลายแห่งที่มีเจ้าหน้าที่ของสถาบัน LIRE อาศัยอยู่นั้นเป็นพื้นที่ที่ห่างไกลความสะดวกสบาย เช่นพื้นที่ที่ไม่มีไฟฟ้าใช้ และงานพัฒนาชุมชนงานแรกที่ผมได้รับมอบหมายก็อยู่ในชุมชนแบบนั้น คือที่โรงพยาบาลห่างไกลแห่งหนึ่งทางตอนเหนือของกรุงเวียงจันทน์ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ถึงแม้ที่นั่นจะตั้งอยู่ห่างไกล แต่ก่อนหน้านั้นไม่นานโรงพยาบาลนี้ได้ติดตั้งบ่อหมักก๊าสชีวภาพแบบฝังดินขนาด 10 ลบ.ม. เพื่อใช้สาหรับการหุงหาอาหารให้กับโรงพยาบาลและบ้านพักของแพทย์ เชื้อเพลิงที่ใช้มาจากวัว 20 ตัวที่เป็นของโรงพยาบาล และทางโรงพยาบาลยังมีเครื่องยนต์ดีเซลขนาด 10 กิโลวัตต์ ซึ่งเป็นเครื่องยนต์ขนาดเล็กที่ผลิตจากประเทศจีน และใช้เชื่อมต่อกับเครื่องปั่นไฟแบบเฟสเดียวเพื่อให้แสงสว่างและใช้ชาร์ตโทรศัพท์มือถือเป็นระยะเวลา 2-3 ชั่วโมงในตอนเย็น

วิธีการมีส่วนร่วม: ภาพประกอบจากประสบการณ์

“วิธีการเพื่อให้เกิดการมีส่วนร่วม” ในการพัฒนาชุมชนนั้นเกิดขึ้นครั้งแรกในช่วงปี 1970 เป็นต้นมา และมีผู้ให้ความสนใจและใช้วิธีการนี้มาอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา1 นักพัฒนาหลายคนเห็นว่าการยอมรับที่เติบโตขึ้นเรื่อยๆนี้เป็นสิ่งที่ดี เพราะทาให้เราให้ความสนใจในวิธีการที่เรามีส่วนร่วมกับชุมชนที่เราต้องการจะช่วยเหลือ อย่างไรก็ตามผมขอเชิญชวนท่านให้มองนอกเหนือจากวิธีการไปยังสิ่งที่ผมจะเรียกว่า “แนวทางเพื่อเข้าสู่การมีส่วนร่วม” ซึ่งมีหลักการ เป้าหมายและผลสรุปที่จะช่วยให้เราทางานแบบมีส่วนร่วมอย่างแท้จริงกับชุมชนได้

New Seed Bank Additions - 15-09-2013

This article is from ECHO Asia Note #18

We are pleased to offer three new types of seeds (Cosmos, African Marigold, and Zinnia) at the ECHO Asia Seed Bank, none of which have been offered to our member network before. You will notice that these are not our “typical” ECHO seeds, because they are all flowers! Although not edible, these beautiful flowers form the basis for Integrated Pest Management, increase biodiversity in garden plots and farm fields, and offer market potential.

Since inception, we at ECHO Asia have striven to produce our seed crops in a sustainable, earth-friendly way. We believe that increased biodiversity and natural pest attractants and deterrents mimic ecology, reduce risk, and benefit our production principles. A group of plants known as companion plants help to achieve all three goals on our Seed Bank farm.

Simply put, companion planting is “the establishment of two or more plant species in close proximity so that some cultural benefit (pest control, higher yield, etc.) is derived. The concept embraces a number of strategies that increase the biodiversity of agroecosystems” (Kuepper and Dodson, 2001). In this case, the flowers are companion plants that benefit our seed crops.

บทนำเกี่ยวกับปุ๋ยและการปรับปรุงดิน Bokashi

This article is from ECHO Asia Note #17

แนวคิดสาหรับปุ๋ยโบกาฉิ
ในปัจจุบันนี้ เกษตรกรและชาวสวนทุกแห่งทั่วโลกกาลังนาวิธีการปรับปรุงดินและการใช้ปุ๋ยที่เรียกว่าโบกาฉิมาใช้ โบกาฉิเป็นคาศัพท์ภาษาญี่ปุ่นที่อาจแปลตรงตัวเป็นภาษาอังกฤษหรือภาษาไทยไม่ได้ความหมายครบถ้วน ตามความเห็นของคุณยูกิโกะ โอวานากิ เจ้าหน้าที่ของสถาบันพัฒนาชนบทแห่งเอเชีย (Asian Rural Institute หรือ ARI) ในประเทศญี่ปุ่น อย่างไรก็ตามโบกาฉิทุกชนิดล้วนผลิตมาจากขบวนการหมัก
มีโบกาฉิอย่างน้อยสองประเภทที่นักการเกษตร ชาวนาและชาวสวนทาการส่งเสริมและใช้กันอยู่ ประเภทแรกเราจะเรียกว่าเป็นปุ๋ยหมักโบกาฉิ และอีกประเภทหนึ่งเป็นโบกาฉิเศษอาหาร ซึ่งทั้งสองประเภทจะมีการอธิบายไว้ในบทความนี้

ปุ๋ยหมักโบกาฉิ
ปุ๋ยหมักโบกาฉิที่ได้รับการส่งเสริมและนาไปใช้โดยสถาบัน ARI และองค์การอื่นๆในเอเชียนั้นประกอบไปด้วยมูลสัตว์แห้งและดินจากป่าเป็นส่วนใหญ่ ตามคาอธิบายของคุณยูกิโกะ มูลสัตว์จะมีธาตุอาหารและสารอินทรีย์ ส่วนดินจะเป็นตัวช่วยรักษาธาตุอาหารไม่ให้เสีย ช่วยดูดซับกลิ่นเหม็นและเป็นที่อาศัยอย่างดีสาหรับจุลินทรีย์ ถ้ามีการเติมถ่าน (เช่นแกลบดาหรือผงถ่านจากไม้) เข้าไปจะเป็นการเสริมประสิทธิภาพการทางานในดินให้ดียิ่งขึ้น ต่อไปนี้เป็นส่วนประกอบต่างๆของโบกาฉิที่สถาบัน ARI แนะนำไว้:
        มูลสัตว์แห้ง ควรมีสัดส่วนร้อยละ 50-60 ของส่วนประกอบทั้งหมดของปริมาณโบกาฉิที่ทา ซึ่งอาจเป็นมูลสัตว์จาก วัว หมู แพะ ไก่ เป็ด ควาย รวมถึงมูลของค้างคาว
        ดินจากป่า ควรมีสัดส่วนร้อยละ 20-30 ของส่วนประกอบทั้งหมด
        ราข้าว เป็นแหล่งโปรตีนของจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ ควรมีสัดส่วนร้อยละ 10-20
        แกลบดา ควรมีสัดส่วนร้อยละ 5-10
        ถ้าเป็นได้ อาจใส่จุลินทรีย์ท้องถิ่น(IMO)ที่มีประโยชน์ในปริมาณเล็กน้อย โดยเก็บจากป่าหรือพื้นที่เพาะปลูก และอาจใส่น้าหมักชีวภาพ (FPJ) หรือกลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประสิทธิภาพ(EM) ที่จะช่วยในขบวนการหมัก โดยการใส่นั้นควรผสมกับน้ำ

การบำบัดน้ำแบบกระจายอำนาจแบบยั่งยืนสำหรับชุมชนที่พัฒนาชนบทด้วยตัวดูดซับที่ใช้ในประเทศ

This article is from ECHO Asia Note #17

การปนเปื้อนของสารเคมีสังเคราะห์ในน้ำ: ปัญหาที่มักถูกมองข้ามในการพัฒนาชุมชนอย่างยั่งยืนในระดับนานาชาติการปนเปื้อนของแหล่งน้าดื่มจากสารอินทรีย์สังเคราะห์ต่างๆ (SOCs) เช่นยากาจัดศัตรูพืช ถือเป็นปัญหาสาคัญทั่วโลก มลภาวะจากยากาจัดศัตรูพืชปรากฏอยู่ถึงสองครั้งในอันดับ 1 ใน 10 ของ รายงานปัญหามลภาวะที่เป็นพิษที่สุดของโลกประจำปี 2011 โดยสถาบัน Blacksmith ประเทศอเมริกา และได้ถูกพูดถึงในรายงานทุกๆปีตั้งแต่มีการตีพิมพ์ครั้งแรกในปี 2006 อย่างไรก็ดียังคงมีการขาดแคลนเทคโนโลยีบาบัดที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเพื่อแยกเอาสารอินทรีย์สังเคราะห์ออก ซึ่งเป็นวิธีการที่มีประสิทธิภาพ ประหยัดค่าใช้จ่าย และย่อหรือขยายส่วนได้ที่สามารถเข้าถึงชุมชนในประเทศกาลังพัฒนาหรือในพื้นที่ห่างไกลในประเทศที่พัฒนาแล้ว
จากบทวิจารณ์หนึ่งเมื่อไม่นานมานี้ในนิตยสารScience2บอกว่าในแต่ละปีมีการผลิตสารอินทรีย์สังเคราะห์(SOCs) 300 ล้านตัน รวมถึงยากำจัดศัตรูพืชและสัตว์ปริมาณ 5 ล้านตันที่เป็นส่วนสาคัญที่ทำให้น้ำเสื่อม


ภูมิภาค

Asia