โดย: Abram J. Bicksler, Ph.D., Director of ECHO Asia Impact Center


This article is from ECHO Asia Note # 31.

โดย อัมราม เจ. บิคส์เลอร์, Ph.D. ผู้อานวยการเอคโค เอเชีย อิมแพค เซ็นเตอร์ (ECHO Asia Impact Center)

คานาและที่มา

AN31 Biks Fig1
ภาพที่ 1 พื้นที่ตากเมล็ดพันธุ์ก่อนเข้าเครื่องลดความชื้น มีหลังคาพลาสติกเพื่อกันเมล็ดไม่ให้เสียหายจากแสงแดด

การเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์เป็นวิธีหนึ่งที่ช่วยประหยัดงบประมาณ เพื่อจะได้มีเมล็ดพันธุ์ไว้ปลูกในอนาคต และยังเป็นการช่วยรักษาความหลากหลายทางชีวภาพในโลกของเรา ไม่ว่าเราจะปลูกเมล็ดที่เก็บรักษาไว้เอง หรือนาเมล็ดเหล่านั้นไปแจกจ่ายให้กับคนรู้จักหรือเพื่อนบ้าน หรือการแจกจ่ายผ่านทางองค์กร จะต้องมีขบวนการเก็บเกี่ยวที่เหมาะสม, มีความสะอาด, การเตรียมเมล็ด, การอบลดความชื้น และการเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์ ขั้นตอนเหล่านี้สาคัญอย่างยิ่งที่จะช่วยให้เมล็ดที่เราเก็บไว้นั้นมีชีวิตและงอกได้ดี บทความนี้จะเน้นที่ความสาคัญของการอบเมล็ดให้เหมาะสมกับความชื้นของเมล็ดที่ควรมี และจะกล่าวถึงรายละเอียดของเครื่องลดความชื้นเมล็ดพันธุ์แบบประหยัดสองแบบที่เราสร้างขึ้นและใช้อยู่ที่ธนาคารเมล็ดพันธุ์ของ เอคโค เอเชีย อิมแพค เซ็นเตอร์

ความจากัดความ

  • เมล็ดอายุยาว (Orthodox seeds) ทนต่อการสูญเสียน้าและเก็บรักษาได้ในสภาพแห้ง
  • เมล็ดที่สูญเสียความงอกเร็ว (Recalcitrant seeds) จะสูญเสียความสามารถในการงอกอย่างรวดเร็วเมื่อต้องเจอกับอากาศที่แห้ง ส่วนใหญ่แล้วภายในเวลา 10 วัน หลังจากเก็บเกี่ยว
  • ความชื้นในเมล็ด คือปริมาณของน้าในเมล็ด มักจะวัดเป็นเปอร์เซนต์ (%)
  • การตรวจสอบความชื้นเมล็ดพันธุ์ ทาได้ทั้งโดยการคาดคะเนความชื้นสมดุล (ดูคาต่อไป) หรือโดยการใช้เครื่องวัดค่าความชื้นเมล็ดพันธุ์ หรือโดยการทาลายตัวอย่างเมล็ดพันธุ์ (เช่น การใช้เตาอบอบจนน้าในเมล็ดทั้งหมดหายไป) ดูรายละเอียดเพิ่มเติมที่ Rao et al. 2006
  • ค่าความชื้นสมดุล หมายถึงการที่เมล็ดที่อยู่ในสภาพบรรยากาศภายนอกจะปรับสมดุลให้เข้ากับความชื้นสัมพัทธ์ในสิ่งแวดล้อม ด้วยการเปลี่ยนค่าความชื้นในตัวเมล็ดเอง (วัดเป็นเปอร์เซนต์)
  • การตากแห้งเมล็ด เป็นการลดความชื้นของเมล็ดตามระดับที่แนะนาไว้เพื่อการเก็บรักษา และไม่ใช้วิธีทาลายสภาพ เมล็ดจะแห้งลงเรื่อยๆอย่างคงที่จนถึงจุดความชื้นสมดุล
  • ความมีชีวิตของเมล็ดพันธุ์ วัดค่าเป็นเปอร์เซนต์ของเมล็ดที่จะงอกหลังจากผ่านการเก็บรักษามาแล้ว ถ้าค่าความมีชีวิตมาก ก็สามารถใช้เมล็ดปริมาณน้อยลงเมื่อต้องการปลูกพืชในที่นาหรือโรงเพาะกล้า

สภาวะที่ดีที่สุดในการลดความชื้น

AN31 Biks Fig2
ภาพที่ 2 ชั้นตากเมล็ด ใช้สาหรับควบคุมสภาพแวดล้อมก่อนนาเมล็ดเข้าเครื่องลดความชื่น

เมล็ดอายุยาว (Orthodox Seeds) ที่ได้รับการตากแห้งที่พอดีแล้วจะรักษาความมีชีวิตอยู่ได้เป็นระยะนานกว่าเมื่อเก็บไว้ในธนาคาร โดยทั่วไปแล้ว เมล็ดอายุยาวควรอบแห้งให้ค่าความชื้นอยู่ระหว่าง 3% และ 7% สาหรับการเก็บรักษาในระยะยาว แต่ก็มีเมล็ดบางชนิด (เช่นถั่วเหลือง) ที่ความมีชีวิตจะลดลงเมื่อมีความชื้นต่ากว่า 8% ซึ่งความเป็นจริงแล้ว เราที่อยู่ที่ธนาคารเมล็ดพันธุ์เอคโค เอเชีย อิมแพค เซ็นเตอร์ ไม่สามารถตากแห้งเมล็ดให้ความชื้นต่ากว่า 10% ได้ในช่วงฤดูฝน เพราะระดับความชื้นสัมพัทธ์ในช่วงเวลานั้นอยู่ระหว่าง 70-80%

ส่วนเมล็ดที่สูญเสียความงอกเร็ว (Recalcitrant Seeds) ได้แก่แมล็ดจากต้นไม้และผลไม้ในเขตร้อนหลายชนิด ที่ไม่ควรทาให้แห้งหรือถูกอากาศ ดังนั้นจึงไม่ได้กล่าวถึงในบทความนี้ รวมถึงการพิจารณาค่าความชื้นของเมล็ดสาหรับเมล็ดอายุยาวก็จะไม่กล่าวถึงในบทความนี้เช่นกัน แต่มีแหล่งข้อมูลออนไลน์มากมายที่สามารถช่วยในการค้นหาค่าความชื้นของเมล็ดพันธุ์ที่ต้องการได้อย่างเจาะจง รวมถึงวิธีการคานวณแบบวิทยาศาสตร์เพื่อหาค่าความชื้นที่แน่ชัดด้วย และหากต้องการข้อมูลเพิ่มเติม สามารถดูได้จากบทความขององค์กร FAO เรื่อง Manual of Seed Handling in Genebanks, บทที่ 3 และ 4 (Rao et al. 2006)

อย่าลืมว่าอาจเกิดความเสียหายขึ้นกับเมล็ดพันธุ์ได้ในระหว่างการอบแห้งหากเมล็ดแห้งเร็วเกินไปหรือมีอุณหภูมิที่สูงเกินไป โดยทั่วไปแล้ว สาหรับเมล็ดต้นไม้ใหญ่หรือเมล็ดที่มีส่วนประกอบน้ามันสูง ไม่ควรให้อุณหภูมิในการอบสูงเกิน 41⁰C (105⁰F) และ สาหรับเมล็ดอายุยาวไม่ควรเกิน 54⁰C (130⁰F) การตากก่อนนิดหน่อยในที่ร่มที่ไม่มีลมและฝนเข้าถึงจะช่วยลดเวลาที่เมล็ดจะต้องอยู่ในเครื่องอบได้ ภาพที่ 1 และ 2 แสดงให้เห็นถึงพื้นที่ตากก่อนเข้าเครื่องอบที่เอคโค เอเชีย คือเป็นพื้นที่ภายใต้พลาสติกทึบแสงและอยู่ในตู้ตาข่ายที่สร้างขึ้นมาเอง

ประสบการณ์ของเอคโค เอเชียกับวิธีการที่ดีที่สุดที่ใช้ในธนาคารเมล็ดพันธุ์

เอคโค เอเชียเริ่มการทดลองวิธีการเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์พืชในเขตร้อนตั้งแต่เมื่อธนาคารของเราเริ่มดาเนินการเมื่อปี 2009 ในขณะนั้นไม่ค่อยมีงานวิจัยที่เกี่ยวกับวิธีการประหยัดค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการเก็บเมล็ดพันธุ์เขตร้อนและกึ่งเขตร้อนที่เหมาะสม ดังนั้นเราจึงเริ่มงานวิจัยของเราเอง หลังจากการศึกษาค้นคว้าบทความจากเครือข่ายและการระดมความคิดเห็นจากเจ้าหน้าที่แล้ว เราจึงได้ลงมือปฏิบัติวิธีการที่เหมาะสมสาหรับองค์กร NGO และองค์การต่างๆที่มีธนาคารเมล็ดพันธุ์เพื่อเป็นแนวทางที่อยู่ในระดับกลางระหว่างธนาคารเมล็ดพันธุ์ระดับชุมชนกับธนาคารเมล็ดพันธุ์หรือพันธุกรรมระดับนานาชาติ วิธีการปฏิบัติของเราได้สรุปไว้ในสารเอคโค เอเชีย ฉบับที่ 63 (Motis 2010) โดยเรามีข้อแนะนาดังนี้:

  • เริ่มต้นด้วยดินที่ดีและต้นพืชที่แข็งแรง ที่สามารถทนต่อแมลงศัตรูพืชและโรคต่างๆ และมีแนวโน้มที่จะให้เมล็ดที่ดีสาหรับเชื้อสายรุ่นต่อไป
  • ต้องแน่ใจว่าเมล็ดโตเต็มที่และพัฒนาเต็มที่แล้วก่อนเก็บมา
  • เก็บเกี่ยวเมล็ดอย่างต่อเนื่องเมื่อถึงระยะโตเต็มที่ เพื่อหลีกเลี่ยงศัตรูพืช ความไม่สมบูรณ์ การติดโรค หรือการสูญเสียที่อาจเกิดขึ้นในอนาคตที่คาดเดาไม่ได้
  • ทาความสะอาดเมล็ดทั้งหมดเพื่อกาจัดเศษปนเปื้อน แมลง เปลือก ฯลฯ ที่อาจเป็นตัวนาของแมลงและโรค
  • เลือกเมล็ดที่เสียหรือเป็นโรคออกทิ้ง
  • อบเมล็ดให้ถึงความชื้นที่แนะนา
  • เสร็จแล้วเก็บเมล็ดในสภาพสูญญากาศทันที (ดูเพิ่มเติมที่สารเอคโคเอเชีย ฉบับที่ 14- Croft et al. 2012; Croft et al. 2013; and Lawrence et al. 2017)
  • เก็บเมล็ดไว้ในสภาพสูญญากาศที่อุณหภูมิต่า (ดูเพิ่มเติมที่สารเอคโคเอเชีย ฉบับที่ 14- Croft et al. 2012)

ในบทความนี้จะเป็นการอธิบายวิธีสร้างเครื่องลดความชื้นเมล็ดพืชแบบประหยัดเพื่อไล่ความชื้นออกจากเมล็ดและทาให้เมล็ดที่เก็บไว้มีอัตราการงอกที่เพิ่มขึ้น อย่างไรก็ตาม ถ้าคุณกาลังจะลงทุนเวลาและงบประมาณเพื่ออบเมล็ด เมื่อเมล็ดแห้งแล้วต้องเก็บไว้ในถุงสูญญากาศหรือภาชนะที่ปิดสนิททันที เพราะถ้าทิ้งไว้ เมล็ดก็จะดูดความชื้นจากอากาศด้านนอกเข้าไปอีกครั้ง ความมีชีวิตและอัตราการงอกของเมล็ดจะคงไว้ในระดับสูงที่สุดเมื่อเมล็ดที่มีความชื้นต่าถูกเก็บไว้ในภาชนะสูญญากาศที่อุณหภูมิต่า

การสร้างเครื่องลดความชื้นสาหรับเมล็ดพืช

เครื่องลดความชื้นเมล็ดพืชที่มีประสิทธิภาพจะมีส่วนประกอบที่สาคัญคือ แหล่งความร้อน, วิธีการควบคุมไม่ให้ความร้อนสูงเกินไป, ตู้หรือกล่องที่รักษาอุณหภูมิ, ตะแกรงเพื่อวางเมล็ด, พัดลมเพื่อใช้หมุนเวียนอากาศ (มีหรือไม่ก็ได้) และช่องระบายอากาศ (มีหรือไม่ก็ได้) โดยทั่วไปแล้ว ลมร้อนจากอุปกรณ์ทาความร้อนจะลอยขึ้นด้านบน หรือถูกหมุนเวียนรอบๆพื้นที่ด้านในด้วยพัดลม อุปกรณ์ทาความร้อนนี้จะต้องปรับอุณภูมิไว้ตามที่กาหนดเพื่อไม่ให้เกิดความเสียหายต่อเมล็ด เมื่อพบกับลมหรืออากาศร้อน เมล็ดจะปล่อยความชื้นออกมาเพราะลมร้อนจับความชื้นมากกว่าลมเย็น ถ้าช่องนี้ปิดผนึกอย่างดี เครื่องอบก็จะยิ่งทางานได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้นด้วยช่องระบายอากาศที่ไล่ลมร้อนคือลมที่อุ้มความชื้นออกไป และเมล็ดก็จะค่อยๆปรับสมดุลให้เข้ากับความชื้นสัมพัทธ์ในสภาพแวดล้อมของมัน

AN31 Bik Fig3
ภาพที่ 3 เครื่องอบ #1 ของเอคโค เอเชีย ใช้ไม้ที่หาได้ในพื้นที่ มีหลอดไส้ ชั้นที่ออกแบบเอง พัดลมกรงกระรอก และช่องทาความร้อน
A: ส่วนอบ มีไฟและพัดลม มีช่องระบายลมอยู่ทางซ้าย, B: ส่วนอบเมล็ดอีกส่วนหนึ่ง, C: ส่วนอบเมล็ดที่ใช้ตะแกรง, D: หลอดไส้ที่ใช้เป็นแหล่งความร้อน

เวลาและความสามารถในการทาให้ความชื้นในเมล็ดลดลงจะแตกต่างกันไปตามประสิทธิภาพของเครื่องอบ รวมถึงอุปกรณ์สร้างความร้อน, ปริมาณเมล็ดพืชที่ใช้อบ, ชนิดของเมล็ด และสภาพอุณหภูมิแวดล้อมในขณะนั้น ในช่วงฤดูฝนทางภาคเหนือของประเทศไทย เราพบว่าการอบเมล็ดแม้จะใช้เครื่องก็ยังทาได้ยากพอสมควร แต่ในช่วงอากาศแล้งในฤดูร้อนเราแทบจะไม่ต้องใช้เครื่องเลย การฝึกฝนเพื่อเรียนรู้วิธีการอบเมล็ดพันธุ์ที่เหมาะสมจะต้องอาศัยการลองผิดลองถูก และใช้ความรู้ทั้งศาสตร์และศิลป์ ด้วยเวลาและประสบการณ์ เจ้าหน้าที่ของธนาคารเมล็ดพันธุ์เอคโคเอเชียได้พัฒนาความเชี่ยวชาญอันยอดเยี่ยมในการอบเมล็ดพันธุ์และความสามารถในการคาดคะเนค่าความชื้นของเมล็ดได้อย่างถูกต้อง

เนื่องจากชนิดของเมล็ดพันธุ์ที่แตกต่างกัน เครื่องอบจึงมีบทบาทที่สาคัญอย่างมากสาหรับศูนย์การเรียนรู้ของฟาร์มขนาดเล็ก หรือสาหรับธนาคารเมล็ดพันธุ์ เมื่อมีการใช้ตัวควบคุมอุณหภูมิควบคู่กับช่องภายในที่ปิดมิดชิดด้วยฉนวน เครื่องอบอาจนามาใช้งานเป็นที่สาหรับเพาะเมล็ดพันธุ์ด้วย เครื่องอบที่มีลมและความร้อนผ่านอย่างเพียงพอสามารถนาไปใช้อบแห้งชีวมวลอย่างอื่นได้ด้วยในกรณีต้องการทาการวิจัยหรือเพื่อการค้า (ตัวอย่างเช่น เครื่องอบเมล็ดพันธุ์ของเรา ลาดับที่ #3 ที่ปรับปรุงเป็นตู้เพาะเมล็ด และยังสามารถนาไปใช้อบแห้งมะรุมและส่วนของพืชอย่างอื่นเพื่องานวิจัยหรือเพื่อนาไปบดเป็นผงเป็นอาหารเสริม) หากมีความคิดสร้างสรรค์ เครื่องอบสามารถสร้างจากวัสดุที่พบได้ทั่วไปและยังนาไปใช้งานได้หลายอย่างอีกด้วย!

AN31 Biks Fig4
ภาพที่ 4 เครื่องอบ #1 ที่ใช้ไม้ที่หาได้ในพื้นที่, หลอดไส้, ชั้นที่ทาขึ้นเอง, พัดลมกรงกระรอก และส่วนที่ปล่อยความร้อน

เอคโค เอเชียได้สร้างเครื่องลดความชื้นหรือเครื่องอบเมล็ดพันธุ์ 3 เครื่องในช่วงเวลา 8 ปีที่ผ่านมา ในส่วนต่อไปจะเป็นการพิจารณาดูแต่ละเครื่องอย่างละเอียด โดยทั่วไปแล้ว เครื่องอบเมล็ดต้องมีส่วนประกอบหลักๆอยู่ 5 หรือ 6 อย่าง ได้แก่ 1.แหล่งความร้อน อาจเป็นอุปกรณ์ให้ความร้อนหรือหลอดไฟ หลอดไส้จะให้ความร้อนมากที่สุด แต่หลอดฟลูออเรสเซนท์ก็ใช้ได้ ทั้งนี้ต้องมีไฟฟ้าเพื่อให้พลังงานแก่หลอดไฟ 2. วิธีการanควบคุมไม่ให้ความร้อนสูงเกินไป อาจใช้ร่วมกับเครื่องควบคุมอุณหภูมิหรือกับเครื่องตั้งเวลาไฟฟ้าแบบธรรมดา เครื่องควบคุมอุณหภูมิเป็นวิธีที่นิยมกันมากกว่าเพราะให้อุณหภูมิที่ต้องการอย่างถูกต้อง แต่เครื่องตั้งเวลาก็ใช้ได้ เราจะใช้เวลาและความพยายามอย่างดีในการวัดอุณหภูมิภายในตู้และปรับวงรอบความร้อน/ความเย็นผ่านการทางานเปิด/ปิดของเครื่องตั้งเวลา และเฝ้าดูการเปลี่ยนแปลงของสภาพอุณหภูมิโดยรอบ 3. ตู้หรือกล่อง ที่จะใช้เก็บเมล็ดและที่สาคัญคือรักษาความร้อนเพื่อไม่ให้เมล็ดปรับสมดุลไปตามความชื้นในบรรยากาศ และจะช่วยให้เครื่องมือที่เป็นแหล่งความร้อนทางานได้เต็มประสิทธิภาพ 4. ตะแกรง

AN31 Biks Fig5
ภาพที่ 5 ชั้นและฝักเมล็ดพันธุ์ขนาดใหญ่ตากอยู่ในเครื่องอบ #1

ใช้สาหรับวางเมล็ดได้ดีภายในตู้ หากไม่มีก็ใช้วัสดุอะไรก็ได้ที่ระบายอากาศ เราประสบความสาเร็จในการทาตะแกรงแบบเคลื่อนย้ายได้ด้วยการใช้วัสดุมุ้งลวด เราจะจัดวางตะแกรงให้อยู่ในตาแหน่งที่ให้อากาศระบายได้ดีที่สุดภายในตู้ เราใช้วิธีที่ได้ผลดีคือการวางตะแกรงเป็นชั้น โดยเกลี่ยเมล็ดให้ทั่วบนตะแกรงและไม่ให้เมล็ดทับซ้อนกันเลย เพื่อให้เกิดการระบายอากาศและการลดความชื้นจะได้ผลดีที่สุด 5. พัดลมเล็ก ที่ช่วยหมุนเวียนลมร้อนจะทาให้เวลาในการอบเสร็จเร็วขึ้น ได้ผลมากที่สุด และทาให้เกิดการแห้งของเมล็ดอย่างสม่าเสมอ คุณอาจใช้พัดลม AC 220V ต่อตรงกับแหล่งจ่ายไฟ หรือจะใช้พัดลม DC 12V ต่อเข้ากับตัวแปลงไฟ แม้พัดลมจะมีประโยชน์ แต่ก็ไม่จาเป็นต้องมีก็ได้ถ้าอุปกรณ์ทาความร้อนอยู่ต่ากว่าตะแกรงวางเมล็ดเพราะการไหลของกระแสลมร้อนจะพาอากาศร้อนขึ้นไปด้านบนผ่านชั้นตะแกรงได้อยู่แล้ว 6. ที่ระบายอากาศ ที่เปิดปิดได้ ไม่จาเป็นต้องมีก็ได้ (โดยเฉพาะถ้าตู้หรือกล่องไม่ได้ปิดสนิทจนเกินไป) แต่ถ้ามี ก็จะช่วยบ้างถ้าเมล็ดที่เราใช้มีความชื้นสูงมาก เมื่อลมร้อนจับเอาความชื้นจากเมล็ด ลมร้อนก็จะสูญเสียความสามารถในการจับความชื้นได้เพิ่มอีก และในที่สุดจะทาให้ช่องภายในตู้มีความชื้น การเปิดช่องระบายอากาศออกไปเป็นครั้งคราวจะช่วยไล่ความชื้นออกไปและนาอากาศสดใหม่จากภายนอกเข้ามาแทนที่ ถ้าเครื่องไม่มีที่ระบายอากาศ ก็สามารถไล่ความชื้นออกไปด้วยการเปิดช่องประตูหรือชั้นเป็นครั้งคราวได้

AN31 Biks Fig6
ภาพที่ 6 เครื่องอบ #1 ของเอคโค เอเชีย จะเห็นชั้นที่ทาขึ้นเอง หลอดไฟ พัดลมกรงกระรอกเพื่อหมุนเวียนอากาศก่อนจะเพิ่มช่องระบายลม ส่วนพัดลมจะพัดลมร้อนจากบนลงล่างเพื่อช่วยหมุนเวียนลมร้อน
AN31 Biks Fig7ภาพที่ 7 แบบดัดแปลงสาหรับเครื่องอบ#1 ที่มีส่วนหมุนเวียนอากาศและช่องระบาย
AN31 Biks Fig8
ภาพที่ 8 เครื่องอบ#2 มีที่ปิดส่วนชั้นต่างๆไว้
A: เครื่องควบคุมอุณภูมิและพัดลมระบายอากาศ, B: ชั้นตากเมล็ด

การออกแบบเครื่องอบเมล็ดพันธุ์ของเอคโคเอเชีย

เครื่องอบเพื่อลดความชื้นของธนาคารเมล็ดพันธุ์เอคโคเอชียเครื่องแรก (เราเรียกเครื่องอบ #1) มีขนาดใหญ่มาก สร้างเป็นตู้ไม้ มีช่องสาหรับชั้นต่างๆห่างกันประมาณ 8 นิ้ว (17 ซม.) (ภาพที่ 3, 4, และ 5) โดยติดตั้งหลอดไส้ที่ด้านล่างและด้านบนเพื่อให้เกิดลมร้อน (ภาพที่ 3) ตัวเครื่องค่อนข้างแข็งแรงแต่น้าหนักมาก และเมื่อเวลาผ่านไปก็เริ่มมีรอยแตกที่ผนัง เนื่องจากไม้ที่ใช้ไม่ได้ผ่านการอบแห้งมาก่อน จากนั้น เราจึงปรับใหม่ด้วยการใช้ระบบหมุนเวียนอากาศ (ที่ไม่ค่อยได้ใช้) มีการใช้เครื่องควบคุมอุณหภูมิเพื่อการควบคุมที่แม่นยาขึ้น, ใช้พัดลมที่มีลักษณะคล้ายกับกรงกระรอก และหลอดไส้มากขึ้นเพื่อพยายามที่จะให้อากาศหมุนเวียนได้มากขึ้น (ภาพที่ 4) จากส่วนบนลงไปถึงส่วนล่างของตู้ การออกแบบนี้ยังมีการแยกพื้นที่ให้ความร้อนทางด้านบนเพื่อเกิดลมร้อนและแลกเปลี่ยนลม (ภาพที่ 6 และ 7)

AN31 Biks Fig10
ภาพที่ 10 ส่วนอุปกรณ์โลหะสา หรับยา้ ย
ชัน้ เขา้ ออกของเครื่องอบ#2
AN31 Biks Fig9
ภาพที่ 9 จากดา้ นบนของเครอื่ งอบ#2 จะเห็นส่วนจ่ายความรอ้ น ไม่จาเป็ นตอ้ งเปิดหลอดไฟทัง้ หมดเวลาใชง้ าน

เครอื่ งอบของธนาคารเมล็ดพันธุ์เอคโคเครอื่ งทสี่ อง (เครอื่ งอบ #2) สรา้ งขนึ้ 6 ปีหลังจากเครื่องแรก เราใชห้ ลักการเหมือนเดิม แต่ปรับปรุงใหมี้ขนาดเล็กลงและประหยัดพลังงานมากขนึ้ (ภาพที่ 8) ขณะทเี่ ครอื่ งแรกเราสรา้ งดว้ ยไมท้ แี่ หง้ และแตกไดง้ ่าย ดังนั้นเครอื่ งนเี้ ราจึงสรา้ งดว้ ยไมแ้ ละไมอั้ดที่ผ่านการอบแหง้ มาแลว้ และเรายังใชอุ้ปกรณ์ที่แข็งแรงทนทานและ
ทาชัน้ ตากเมล็ดที่ไม่ห่างกันเกนิ ไป (เพื่อใหข้ นาดเครื่องเล็กลง) เช่นเดียวกันกับเครื่องแรก เราใชห้ ลอดไฟเป็นแหล่งความรอ้ น (ภาพที่ 9), มีเครอื่ งควบคุมอุณหภูม,ิ และพัดลม DC 12V เพอื่ ใหอ้ ากาศหมุนเวียน (ภาพที่ 10) ขณะทเี่ ครอื่ งแรกไม่สามารถยกหรือยา้ ยไปไหนได ้ เครอื่ งทสี่ องนเี้ รามีลอ้ ทสี่ ามารถยา้ ยไปตามทตี่ อ้ งการได ้ และเราใชอุ้ปกรณ์ต่างๆที่มีคุณภาพสูง (ภาพที่ 11) ซงึ่ ทาใหก้ ารทางานดีขนึ้ แต่การนาชัน้ ออกมาทาความสะอาดยังเป็นไปไดย้ ากอยู่ (ภาพที่ 12)

AN31 Biks Fig9
ภาพที่ 11 เครื่องควบคุมอูณหภูมิ และชัน้
ทยี่ า้ ยเขา้ ออกไดข้ องเครอื่ งอบ#2
AN31 Biks Fig12
ภาพที่ 12 ชัน้ ตากเมล็ดที่ใชวั้สดุมุง้ ลวดในเครอื่ งอบ#2

เราไดส้ รา้ งแบบที่ 3 ขนึ้ มา (เครอื่ งอบ #3) แต่ยังไม่ไดน้ าไปใชใ้ นวงกวา้ ง เป็นการออกแบบใหเ้ ป็นมาตรฐาน โดยมีพนื้ ฐานดัดแปลงมาจากตูเ้ พาะเมล็ด (ภาพที่ 13) ที่เอคโคเอเชียสรา้ งขนึ้ และนาไปส่งเสริมการ ใช ้ (ดูสารเอคโคเอเชีย ฉบับที่ 8 (Bicksler 2011) และวิดีโอของเราที่our YouTube video) เครอื่ งอบนี้ โดยหลักการแลว้ ก็คือตูเ้พาะเมล็ดที่มีเครอื่ งควบคุมอุณหภูมิ (ภาพที่ 14) เพอื่ ควบคุมอุณหภูมใิ หแ้ ม่นยา มีช่องระบายอากาศเพื่อระบายอากาศชื้นออกไป มีพัดลม DC 12V เพอื่หมุนเวียนอากาศภายในตู ้ (ภาพท1ี่ 5) และมีการเจาะรูไวบ้ นชัน้ ที่มีในตู ้
อยู่แลว้ เพื่อช่วยใหอ้ ากาศถ่ายเทไดดี้ขนึ้ (ภาพที่ 16) ขอ้ ดีของการออกแบบแบบนคีื้อ: 1) สามารถเพมิ่ การใชง้ านของตูเ้พาะเมล็ด และ 2)เนอื่ งจากฉนวนทมีี่อยแู่ ลว้ ความรอ้ นทไี่ ดจึ้งถูกนาไปใชอ้ ย่างเต็มทมี่ ากขนึ้ มีขอ้ จากัดเพียงอย่างเดียวคือมีขนาดเล็กเท่ากับขนาดตูกั้บขา้ วทเี่ รานามาดัดแปลงทาเป็นตูเ้ พาะในตอนแรก

AN 31 Seed Fig 13.14.15
ภาพที่ 13 เครอื่ งอบ#3 ทอี่ อกแบบจากใหเ้ ขา้ กับตูเ้พาะเมล็ดเอคโคเอเชยีภาพที่ 14 เครอื่ งควบคุมอุณหภูมิที่คอยควบคุมความรอ้ นภายในเครอื่ งอบ#3; ภาพที่ 15 เครอื่ งอบ#3 A: พัดลมเพอื่ ใหอ้ ากาศหมุนเวียน, B:หลอดไฟเพอื่ ใหค้ วามรอ้ น ,C: เครอื่ งควบคุมอุณหภูมิ
AN31 Biks Fig16
ภาพที่ 16 หลอดไฟ, พัดลม, เครอื่ งควบคุมอุณหภูมิในเครอื่ งอบ#3

ความคิดเห็นของเจ้าหน้าที่เกี่ยวกับการออกแบบ

เจ้าหน้าที่ของธนาคารเมล็ดพันธุ์เอคโคเอเชียได้แสดงความเห็นต่อการออกแบบและความสามารถในการทางานของเครื่องอบเมล็ด #1 และ #2 รวมถึงข้อแนะนาต่างๆสาหรับเครื่องอบเมล็ด (ตารางที่ 1) นอกจากนี้เรายังได้รวบรวมลักษณะเด่นของทั้งสองแบบเพื่อที่จะนาไปสร้างเครื่องอบเมล็ดแบบใหม่ในอนาคต

สรุป

ตู้อบเมล็ดที่มีคุณภาพสูงและมีประสิทธิภาพสามารถสร้างได้เองจากวัสดุที่หาได้ใน ท้องถิ่น ซึ่งใช้งบประมาณและแรงงานไม่มาก การใช้เครื่องตากแห้งเมล็ดจะช่วยลดความชื้นภายในเมล็ด เพิ่มความมีชีวิตและทาให้การเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น การปรับปรุงการเก็บรักษาเมล็ดและความมีชีวิตของเมล็ดจะช่วยลดต้นทุนในการซื้อหาเมล็ด ช่วยเพิ่มความยั่งยืนและการอยู่ได้ด้วยตนเองของเกษตรกรและชุมชน อีกทั้งยังเป็นการต่อสู้เพื่อปกป้องความหลากหลายทางชีวภาพของพืชพันธุ์ในโลกของเรา

AN 31 Seed Table 1 THAI
ตารางที่ 1 ข้อคิดเห็นจากเจ้าหน้าที่เกี่ยวกับข้อดีและข้อเสียของเครื่องอบ#1และ#2 และข้อแนะนาการสร้างเครื่องอบในอนาคต

เว็บไซท์อ้างอิง

Bicksler, A. J. 2011. Build your own seed germination cabinet for testing seed viability. ECHO Asia Note #8. Chiang Mai, Thailand: ECHO Asia Impact Center. 

Croft, M., A. Bicksler, J. Manson, and R. Burnette. 2013. Comparison of appropriate seed storage techniques for germplasm conservation in mountainous sub-tropical climates with resource constraints. Journal of Experimental Agriculture 49(2): 279-294).

Croft, M., A. Bicksler, J. Manson, and R. Burnette. 2012. Vacuum sealing vs. refrigeration: Which is the most effective way to store seeds? ECHO Asia Note #14. Chiang Mai, Thailand: ECHO Asia Impact Center. 

Lawrence, B., A. J. Bicksler, and K. Duncan. 2017. Local treatments and vacuum sealing as novel control strategies for stored seed pests in the tropics. Agronomy for Sustainable Development 37(6). 

Motis, T. 2010. Seed saving steps and technologies. ECHO Technical Note #63. N. Ft. Myers, FL: ECHO, Inc.  

Rao, N. K., J. Hanson, M. E. Dulloo, K. Ghosh, D. Nowell, and M. Larinde. 2006. Manual of Seed Handling in Genebanks. Handbooks for Genebanks Number 8. Rome: FAO.